วันเสาร์ที่ 1 กันยายน พ.ศ. 2555

การแทรกตาราง

ในการสร้างตารางนั้น ในเบื้องต้นต้องใช้คำสั่งหรือแท็กดังต่อไปนี้
<table>...</table>  เป็นการบอกจุดเิ่ริ่มต้นและจุดสิ้นสุดในการสร้างตาราง
<tr>....</tr>             เป็นการบอกจำนวนแถว (row)
<td>...</td>            เป็นการบอกจำนวนคอลัมน์ (colunm)

ตัวอย่างการสร้างตารางดังภาพด้านบน
<html>
<head>
<title>การสร้างตาราง</title>
</head>
<body>
การสร้างตารางในภาษา HTML <br>
<hr>
<table>
    <tr><td> แถว 1 คอลัมน์ 1 </td><td> แถว 1 คอลัมน์ 2 </td></tr>
    <tr><td> แถว 2 คอลัมน์ 1 </td><td> แถว 2 คอลัมน์ 2 </td></tr>
    <tr><td> แถว 3 คอลัมน์ 1 </td><td> แถว 3 คอลัมน์ 2 </td></tr>
</table>

</body>
</html>


แถว 1 คอลัมน์ 1
แถว 1 คอลัมน์ 2
แถว 2 คอลัมน์ 1
แถว 2 คอลัมน์ 2
แถว 3 คอลัมน์ 1
แถว 3 คอลัมน์ 2


การปรับขนาดตาราง

<html>
<head>
<title>การสร้างตาราง</title>
</head>
<body>
การกำหนดความกว้างและความสูงของตาราง <br>
<hr>
<table border="1" cellspacing="5" width="500" height="400">
    <caption align="bottom">ตารางที่ 1 การทดลองสร้างตาราง </caption>
    <tr><td> แถว 1 คอลัมน์ 1 </td><td> แถว 1 คอลัมน์ 2 </td></tr>
    <tr><td> แถว 2 คอลัมน์ 1 </td><td> แถว 2 คอลัมน์ 2 </td></tr>
    <tr><td> แถว 3 คอลัมน์ 1 </td><td> แถว 3 คอลัมน์ 2 </td></tr>
</table>

</body>
</html>


แถว 1 คอลัมน์ 1แถว 1 คอลัมน์ 2
แถว 2 คอลัมน์ 1แถว 2 คอลัมน์ 2
แถว 3 คอลัมน์ 1แถว 3 คอลัมน์ 2


การจัดตำแหน่งตาราง
<html>
<head>
<title>การสร้างตาราง</title>
</head>
<body>
การกำหนดตำแหน่งข้อมูลในเซลล์ <br>
<hr>
<table border="1" cellspacing="5" width="700" height="100">
    <caption align="bottom">ตารางที่ 1 การทดลองสร้างตาราง </caption>
    <tr align="center"><td> แถว 1 คอลัมน์ 1[กลาง] </td><td> แถว 1 คอลัมน์ 2 [กลาง] </td></tr>
    <tr><td> แถว 2 คอลัมน์ 1 </td><td> แถว 2 คอลัมน์ 2 </td></tr>
    <tr><td> แถว 3 คอลัมน์ 1 </td><td align="right"> แถว 3 คอลัมน์ 2 [ขวา] </td></tr>
</table>

</body>
</html>





แถว 1 คอลัมน์ 1[กลาง]แถว 1 คอลัมน์ 2 [กลาง]
แถว 2 คอลัมน์ 1แถว 2 คอลัมน์ 2
แถว 3 คอลัมน์ 1แถว 3 คอลัมน์ 2 [ขวา]


การรวมเซลล์


<TR> <TD COLSPAN = " จำนวนคอลัมน์ที่รวม " > ข้อความ </TD> </TR> เช่น
                                                  <TD COLSPAN = "3">จำนวนนักเรียน</TD>
                                     เป็นคำสั่งรวมคอลัมน์จำนวน 3 คอลัมน์มาเป็น 1 เซลล์ และในเซลล์นั้นจะมีข้อความ จำนวนนักเรียน
                ตัวอย่าง
                              ภาพแสดงการใช้คำสั่ง colspan                                                      ภาพแสดงผลการใช้คำสั่ง colspan 


แหล่งอ้างอิิง
http://school.obec.go.th/pp_school/html/table.html
วันที่ 1 กันยายน 2555

การแทรกรูปภาพ

รูปแบบโค้ด

<HTML>
<HEAD>
<TITLE> นี่คือเว็บเพจแรกของฉัน </TITLE>
</HEAD>
<BODY>
<CENTER>
นี่คือภาพดาราคนโปรดของฉัน><BR>
<IMG SRC="mypic.gif" BORDER=0 WIDTH=120 HIGHT=120 ALT="Super Star"><BR>
ลองทายดูซิว่าเธอคือใคร<BR>
</CENTER>
</BODY>
</HTML>

ผลลัพธ์ที่ได้ 


นี่คือภาพดาราคนโปรดของฉัน
ลองทายดูซิว่าเธอคือ


ในกรณีที่ภาพอยู่ในที่เดียวกัน

<HTML>
<HEAD>
<TITLE> นี่คือเว็บเพจแรกของฉัน </TITLE>
</HEAD>
<BODY>
<CENTER>
นี่คือภาพดาราคนโปรดของฉัน><BR>
<IMG SRC="mypic.gif" BORDER=0 WIDTH=120 HIGHT=120 ALT="Super Star"><BR>
ลองทายดูซิว่าเธอคือใคร<BR>
</CENTER>
</BODY>
</HTML>

ผลลัพธ์ที่ได้ 

นี่คือภาพดาราคนโปรดของฉัน
ลองทายดูซิว่าเธอคือใคร



ในกรณีที่ภาพอยู่คนละที่กัน

ให้ใส่พาสที่อยู่ของรูปภาพ
<HTML>
<HEAD>
<TITLE> นี่คือเว็บเพจแรกของฉัน </TITLE>
</HEAD>
<BODY>
<CENTER>
นี่คือภาพดาราคนโปรดของฉัน><BR>
<IMG SRC="my picture/mypic.gif" BORDER=0 WIDTH=120 HIGHT=120 ALT="Super Star"><BR>
ลองทายดูซิว่าเธอคือใคร<BR>
</CENTER>
</BODY>
</HTML>

ผลลัพธ์ที่ได้ 

นี่คือภาพดาราคนโปรดของฉัน
ลองทายดูซิว่าเธอคือใคร


แหล่งอ้างอิง



วันที่  1 กันยายน 2555

วันจันทร์ที่ 23 กรกฎาคม พ.ศ. 2555

งานสัปดาห์ที่ 3

การตกแต่งตัวอักษร

 ในการสร้าง Web Page ด้วยภาษา HTML นั้น เราสามารถ ใส่ลูกเล่น หรือ โครงสร้างของ ประโยค กลุ่ม คำ หรือ ตัวอักษร นั้น ๆ ได้ เช่น ขนาดของตั้วอักษร สีของตัวอักษร ตัวอักษรวิ่ง ตัวอักษร กระพริบ การจัดย่อหน้าของตัวอักษร ฯลฯ

๐ ขนาดของตัวอักษร

เราสามารถ กำหนด ขนาดของตัวอักษร สามารถทำได้ดังนี้  

<Font Size ="7"> เย้ เย้ </Font> 

ผลที่ได้



โดยขนาดของตัวอักษรมีทั้งหมด 7 ขนาดด้วยกัน 

 โดยสามารถเปลี่ยนได้โดย <Font Size ="7"> เย้ เย้ </Font> เปลี่ยนเลข 7 เป็นขนาดที่ ต้องการ (1-7)

EX  <Center><Font Size ="1"> เย้ เย้  ขนาดที่ 1</Font><br><br>
        <Center><Font Size ="2"> เย้ เย้  ขนาดที่ 2</Font><br><br>
        <Center><Font Size ="3"> เย้ เย้  ขนาดที่ 3</Font><br><br>
        <Center><Font Size ="4"> เย้ เย้ ขนาดที่ 4</Font><br><br>
        <Center><Font Size ="5"> เย้ เย้ ขนาดที่ 5</Font><br><br>
        <Center><Font Size ="6"> เย้ เย้ ขนาดที่ 6</Font><br><br>
        <Center><Font Size ="7"> เย้ เย้ ขนาดที่ 7</Font><br><br>


 ผลที่ได้

๐ สีตัวอักษร

ในการเปลี่ยนสีตัวอักษรนั้น ทำคล้าย ๆ กันในส่วนของ ขนาดตัวอักษร เพียงให้เปลี่ยนจาคำว่า 
"Font Size" มาเป็น "Font Color " และเปลี่ยนชนาดตัวเลขมาเป็น ชื่อสีที่ต้องการ
 (ภาษาอังกฤษเท่านั้น) 

Ex1   <Font Color ="Red"> เย้ เย้ </Font> 



 

 ผลที่ได้


 ในขณะเดียวกัน เราสามารถใส่สีของตัวอักษร ไปพร้อม ๆ กับขนาดของตัวอักษรได้ด้วย 

EX  <Font Size ="7" Font Color ="Green"> เย้ เย้  มีสีเขียวด้วย</Font>
        <Font Size ="7" Font Color ="Red"> เย้ เย้  สีแดงก็มี</Font> 
        <Font Size ="7" Font Color ="Blue"> เย้ เย้  สีฟ้าก็มา</Font> 
        


 ผลที่ได้


และ สีของตัวอักษร นั้น ก็สามารถ กำหนดได้ อีก 1 วิธี คือ ใช้ตัวเลข "ฐาน 16 หลัก"  หรือที่เรารู้จักกันดีในชื่อว่า "โค้ดสี" นั้นเอง 
(วาร์ปตรงนี้ เพื่อไปเลือกโค้ดสี ^^  http://codecolors.blogspot.com  )

Ex  <Font Color = #DDA0DD> เย้ เย้ </Font>


 ผลที่ได้





 ๐ คำสั่งทั่วไป 

คือคำสั่งที่ใช่ใน การ เขียนข้อความ การเน้นคำ หรือ ประ โยค ให้ ได้ใจความมากขึ้น มีดังนี้

ตัวหนา              ใช้ Tag <B>
ตัวเอียง              ใช้ Tag   <I> ขีดเส้นใต้           ใช้ Tag <U>ขีดฆ่า                 ใช้ Tag <S>เว้นบรรทัด         ใช้ Tag <Br>

 

 

Ex
 <B><Font Size ="7"> อันนี้ตัวหนา</Font></B>
 <I><Font Size ="7"> อันนี้ตัวเอียง</Font></I><U><Font Size ="7"> อันนี้ตัวขีดเส้นใต้</Font></U>
<S><Font Size ="7"> อันนี้ตัวขีดฆ่า</Font></S> 


 ผลที่ได้ 


๐ ตำแหน่งของตัวอักษร 

ในการเขียนหน้า Web Page ด้วย ภาษา HTML นั้น สามารถ ย่อตำเหน่งของตังอักษรได้คล้าย ๆ ย่อหน้า สามที่ คือ

<LEFT> ย่อหน้าทางซ้าย (เราสามารถจะไม่ใส่ <LEFT> ก็ได้ เพราะ ตัวอักษร จะชิด ซ้าย อยู่แล้ว )
<CENTER> กลางหน้ากระดาษ
<RIGHT> ย่อหน้าไปทางขวา

Ex
<LEFT><Font Size="7"> อันนี้อยู่ทางซ้าย</Font></LEFT>
<CENTER><Font Size="7"> อันนี้อยู่ตรงกลาง</Font></CENTER>
<RIGHT><Font Size="7"> อันนี้อยู่ทางขวา</Font></RIGHT>
  

  ผลที่ได้



๐ตัวอักษร วิ่ง และ กระพริบ 

สามารถทำได้ดังนี้

<Marquee>       <<< ตัวอักษรวิ่ง
<Blink>              <<< ตัวอักษร กระพริบ 



  สำหรับวิ่งอักษรวิ่งและ กระพริบนั้น ไม่สามารถ แสดงตัวอย่างได้ ^^




อ้างอิง

http://codecolors.blogspot.com/


http://www.chandra.ac.th/office/ict/document/it/it06/html03.html


http://www.thaiall.com/learn/htmchr.htm


http://www.bkk2.in.th/Topic.aspx?TopicID=7177

23 กรกฏาคม 2555
























วันพฤหัสบดีที่ 28 มิถุนายน พ.ศ. 2555

งานสัปดาห์ที่2

                       

                          Week 2 HTML TAG พื้นฐาน


 


 



 

HTML ย่อมาจากคำว่า HyperText Markup Language เป็นภาษาที่ใช้ในการแสดงผลของเอกสารบน website หรือที่เราเรียกกันว่าเว็บเพจ เป็นภาษาที่พัฒนาโดย World Wide Web Consortium (W3C)  
HTML เป็นภาษาที่สำคัญมากกับเทคโนโลยีบนเว็บไซต์ ไม่ว่าคุณจะเขียนโปรแกรมบนเว็บไซต์ด้วยภาษาใด ๆ ๆ เช่น PHP, ASP, Perl หรืออื่น ๆ คุณก็ต้องมีความจำเป็นในการแสดงผลข้อมูลออกมายัง Web Browser ด้วยภาษา HTML เป็นหลักใหญ่ หรือให้เรามองว่า HTML คือ Output ในการแสดงผลสู่จอภาพของ Web Browser  

          

           โปรแกรมที่ใช้สร้างภาษา HTML (Text Editor)


Text Editor นั้น กล่าวโดยสรุปคือ โปรแกรมที่เราสามารถเขียนข้อความลงไปได้โดยข้อความที่เราเขียนนั้น จะเป็นตัวหนังสือ CODE หรือภาษาที่ใช้ในการสร้าง Website อย่างภาษา HTML ก็ได้
โดยภาษา HTML นั้นเป็นภาษา ที่สามารถเขียนขึ้นมาได้ด้วยหลาย ๆ โปรแกรม เราสามารถสร้างภาษา HTML ได้ด้วยโปรแกรมพื่นฐาน เช่น Nopepad หรือ Worldpad
และก็ยังมีโปรแกรมที่ใช้ ในการเขียนภาษา HTML โดยเฉพาะอีกด้วย อาทิเช่น โปรแกรม  
HTML-Assistant(เอชทีเอ็มแอล-แอสซิสแตนต์)
 
 <<< ตัวอย่างของโปรแกรม Notepad 
 
     ตัวอย่างของโปรแกรม Worldpad  >>>

 หลังจากที่เราเขียน CODE ของภาษา  HTML เสร็จเรียบร้อยแล้ว ให้เราทำการ SAVE ไฟล์นั้น ๆ โดยให้เขียนข้างหลังชื่อไฟล์เป็นนามสกุลของภาษา HTML คือ .HTML และสามารถเปิดดูได้ด้วย โปรแกรม Web Browser ทั่วไป (IE,Firefox,Google Chrome,Opera,Safari,Maxthon,Netscape,Avant Browser)

องค์ประกอบของเอกสาร HTML

 โดยปกติแล้วครงสร้างของ HTML


มีรูปแบบโครงสร้างที่ประกอบอยู่ด้วยกัน 2 ส่วน คือ 

1. ส่วนของ HEAD สำหรับข้อมูลในส่วนหัวของ HTML เช่น ข้อความบน Title bar เป็นต้น
2. ส่วนของ BODY สำหรับการแสดงผลยังหน้าเอกสาร หรือหน้า Web Browser
โดยทั้ง 2 ส่วนข้างต้น จะเรียกว่า TAG โดยจะต้องเขียน CODe ในเครื่องหมาย <ชื่อ Tag>ตัวอย่างเช่น <HTML> 
และส่วนประกอบหรือรายชื่อ Tag หลัก ๆ ที่ใช้ในการเขียนภาษา HTML มีดังนี้ 
<HTML> คือส่วนที่ใช้ในการเริ่มต้นเขียนภาษา HTML โดยในการเขียนภาษา HTMl แต่ละครั้งจะขาด Tag นี้ไปไม่ได้
 <HEAD> คือ ส่วนของหัวเรื่อง
<Title> คือ ชื่อเรื่อง
<Body>คือ เนื้อหาของเรื่อง เป็นส่วนที่จะแสดงผลออกไปยังหน้า Web Browser 
<Br> คือ การเว้นบรรทัด
<p> คือ การกำหนดย่อหน้าในเว๊บเพจ
<B> คือ ตัวอักษรหนา
<I> คือ ตัวอักษรเอียง
<U> คือ ตัวอักษรขีดเส้นใต้
 <Blink> คือ ตัวอักศรกระพริบ
 <Marquee> คือ ตัวอักษรแบบแถบวิ่ง 

 ตัวอย่างของภาษา HTML ที่เขียนเสร็จแล้ว และแสดงผลบน 
Web Browser







ตัวอย่างโค้ดที่เขียนด้วยโปรแกรม Note Pad




ตัวอย่างของโค้ดที่เขียนเสร็จและเปิดดูด้วยโปรแกรม Web Browser 
  (Max thon 3)

www. อ้างอิง 
http://guru.google.co.th/guru/thread?tid=7b3e1df05f4fb4d0&pli=1

http://www.holy.ac.th/holy/html.htm  


วันที่ค้นหาข้อมูล 28/06/2012 

วันอังคารที่ 12 มิถุนายน พ.ศ. 2555

คำศัพท์ำพื้อฐานเกี่ยวกับการสร้าง Website


                                          INTERNET


อินเทอร์เน็ต  หมายถึง เครือข่ายคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ ที่มีการเชื่อมต่อระหว่างเครือข่ายหลายๆ เครือข่ายทั่วโลก โดยใช้ภาษาที่ใช้สื่อสารกันระหว่างคอมพิวเตอร์ที่เรียกว่า โพรโทคอล (Protocol) ผู้ใช้เครือข่ายนี้สามารถสื่อสารถึงกันได้ในหลายๆ ทาง อาทิเช่น อีเมล เว็บบอร์ด และสามารถสืบค้นข้อมูลและข่าวสารต่างๆ รวมทั้งคัดลอกแฟ้มข้อมูลและโปรแกรมมาใช้ได้


                                                                          WWW





เวิลด์ไวด์เว็บ หรือที่เรียกกันสั้นๆ ว่า "เว็บ" คือพื้นที่ที่เก็บข้อมูลข่าวสารที่เชื่อมต่อกันทางอินเทอร์เน็ต โดยการกำหนดURL คำว่าเวิลด์ไวด์เว็บมักจะใช้สับสนกับคำว่า อินเทอร์เน็ต โดยจริงๆแล้วเวิลด์ไวด์เว็บเป็นเพียงแค่บริการหนึ่งบนอินเทอร์เน็ต






                                                               Homepage



















Homepage เป็นคำที่ใช้เรียก เว็บเพจหลักของเว็บไซต์นั้นๆ ซึ่งภายในโฮมเพจก็จะมีจุดเชื่อมต่อเปิดเข้าไปชมเว็บเพจอื่นๆที่อยู่ภายในเว็บไซต์ เพื่อเข้าชม ภาพ โลโก้เว็บ ลิงค์ข้อมูล วีดีโอ ฯลฯ


                                                                     web browser




                                          





เว็บเบราว์เซอร์  คือโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ที่ผู้ใช้สามารถดูข้อมูลและโต้ตอบกับข้อมูลสารสนเทศที่จัดเก็บในหน้าเวบที่สร้างด้วยภาษาเฉพาะ เช่น ภาษาเอชทีเอ็มแอล ที่จัดเก็บไว้ที่ระบบบริการเว็บหรือเว็บเซิร์ฟเวอร์หรือระบบคลังข้อมูลอื่น ๆ โดยโปรแกรมค้นดูเว็บเปรียบเสมือนเครื่องมือในการติดต่อกับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ที่เรียกว่าเวิลด์ไวด์เว็บ
เว็บเบราว์เซอร์ตัวแรกของโลกชื่อ เวิลด์ไวด์เว็บ [1] ขณะเดียวกันเว็บเบราว์เซอร์ที่นิยมมากที่สุดในปัจจุบันคือ อินเทอร์เน็ตเอกซ์พลอเรอร์





                                                                         webpage










เว็บเพจ หรือ หน้าเว็บ หมายถึง หน้าหนึ่ง ๆ ของเว็บไซต์ ที่เราเปิดขึ้นมาใช้งาน
โดยทั่วไป เว็บเพจส่วนใหญ่จะอยู่ในรูปของเอกสาร HTML หรือ XHTML (ซึ่งมักมีนามสกุลไฟล์เป็น htm หรือ html) มีลิงก์สำหรับเชื่อมโยงไปยังเว็บเพจหน้าอื่น ๆ สามารถใส่รูปภาพและรูปภาพยังสามารถเป็นลิงก์ กล่าวคือสามารถคลิกบนรูปเพื่อกระโดดไปหน้าอื่นได้ นอกจากนี้ยังสามารถใส่แอปเพล็ต (applet) ซึ่งเป็นโปรแกรมขนาดเล็กแสดงภาพเคลื่อนไหว มีปฏิสัมพันธ์กับผู้ใช้ หรือสร้างเสียง ได้อีกด้วย

                                             HTML 





เอชทีเอ็มแอล ย่อมาจาก Hypertext Markup Language เป็นภาษามาร์กอัปหลักในปัจจุบันที่ใช้ในการสร้างเว็บเพจ หรือข้อมูลอื่นที่เรียกดูผ่านทางเว็บเบราว์เซอร์ ซึ่งตัวโค้ดจะแสดงโครงสร้างของข้อมูล ในการแสดง หัวข้อ ลิงก์ ย่อหน้า รายการ รวมถึงการสร้างแบบฟอร์ม เชื่อมโยงภาพหรือวิดีโอด้วย โครงสร้างของโค้ดเอชทีเอ็มแอลจะอยู่ในลักษณะภายในวงเล็บสามเหลี่ยม

                                                                            Website







      เว็บไซต์ หมายถึง หน้าเว็บเพจหลายหน้า ซึ่งเชื่อมโยงกันผ่านทางไฮเปอร์ลิงก์ ส่วนใหญ่จัดทำขึ้นเพื่อนำเสนอข้อมูลผ่านคอมพิวเตอร์ โดยถูกจัดเก็บไว้ในเวิลด์ไวด์เว็บ หน้าแรกของเว็บไซต์ที่เก็บไว้ที่ชื่อหลักจะเรียกว่าโฮมเพจ เว็บไซต์โดยทั่วไปจะให้บริการต่อผู้ใช้ฟรี แต่ในขณะเดียวกันบางเว็บไซต์จำเป็นต้องมีการสมัครสมาชิกและเสียค่าบริการเพื่อที่จะดูข้อมูล ในเว็บไซต์นั้น ซึ่งได้แก่ข้อมูลทางวิชาการ ข้อมูลตลาดหลักทรัพย์ หรือข้อมูลสื่อต่างๆ ผู้ทำเว็บไซต์มีหลากหลายระดับ ตั้งแต่สร้างเว็บไซต์ส่วนตัว จนถึงระดับเว็บไซต์สำหรับธุรกิจหรือองค์กรต่างๆ การเรียกดูเว็บไซต์โดยทั่วไปนิยมเรียกดูผ่านซอฟต์แวร์ในลักษณะของ เว็บเบราว์เซอร์



                                                                                  URL





ตัวชี้แหล่งในอินเทอร์เน็ต หรือ โปรแกรมชี้แหล่งทรัพยากรสากล เรียกโดยย่อว่า ยูอาร์แอล  คือตัวระบุแหล่งทรัพยากรสากล ประเภทหนึ่ง ซึ่งใช้สำหรับระบุแหล่งที่อยู่ของทรัพยากรที่ต้องการ และมีกลไกบางอย่างสำหรับดึงข้อมูลทรัพยากรนั้นมา ในการใช้ในเอกสารทางเทคนิคและการอภิปรายทั่วไป มักจะใช้ยูอาร์แอลแทนความหมายที่คล้ายกับยูอาร์ไอ ซึ่งไม่ใช่ความหมายที่ถูกต้องและอาจทำให้เกิดความสับสน ในภาษาพูดทั่วไป ยูอาร์แอลอาจหมายถึงที่อยู่บนเว็บ หรือ ที่อยู่อินเทอร์เน็ต ก็ได้ ซึ่งปกติแล้วเรามักพิมพ์ยูอาร์แอลในแถบที่อยู่ของเว็บเบราว์เซอร์เพื่อเรียกข้อมูลจากเว็บไซต์



 อ้างอิืง













วันที่ 13/6/2012